1. หลักการและเหตุผล
โรคไข้เลือดออกนับเป็นปัญหาสาธารณสุขไทยตลอดมา เพราะไข้เลือดออกเป็นโรคติดต่อที่สร้างความสูญเสียชีวิตและค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลและความความสูญเสียทางด้านเศรษฐกิจของประเทศ ทั้งที่ทุกฝ่ายได้ช่วยกันรณรงค์ป้องกันและควบคุมมาโดยตลอด และได้รับความร่วมมือจากหน่วยงานต่างทั้งภาครัฐและเอกชน พบว่าปัญหาโรคไข้เลือดออกไม่ได้ลดลงมากนัก ยังคงเป็นปัญหาสำคัญในระดับประเทศเรื่อยมา
อำเภอละงู เป็นอีกพื้นที่หนึ่งที่มีปัญหาการระบาดของโรคไข้เลือดออกมาอย่างต่อเนื่อง โดยมีอัตราป่วยต่อประชากรแสนคน ในปี 2556 – 2560 เท่ากับ 233.62, 117.81, 28.74, 51.72 และ 12.93 ต่อประชากรแสนคน ตามลำดับ (ที่มา : ระบบรายงาน 506 รพ.ละงู) มีผู้ป่วยเสียชีวิต 1 รายในปี 2559 ถึงแม้ว่าอัตราป่วยจะมีแนวโน้มลดลงแต่ยังคงต้องมีการเฝ้าระวังอย่างต่อเนื่อง ด้วยเหตุนี้ การควบคุมโรคจะต้องอาศัยความร่วมมือทั้งจาก ชุมชน โรงเรียน องค์การบริหารส่วนตำบล โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลและหน่วยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
ปัญหาการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกที่มีมาอย่างต่อเนื่อง ทำให้เกิดการปรับเปลี่ยนแนวคิดในการแก้ไขปัญหา จากการตั้งรับไปสู่นโยบายเชิงรุกโดยใช้ยุทธศาสตร์การมีส่วนร่วมให้คนในชุมชนได้ตระหนักถึงสภาพปัญหาของโรคไข้เลือดออก เกิดความรับผิดชอบต่อปัญหาที่เกิดขึ้นในชุมชนของตนเอง พร้อมทั้งหาวิธีการแก้ไข ซึ่งปัญหาของโรคไข้เลือดออกเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและสิ่งแวดล้อม ดังนั้น การดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก จึงต้องปรับเปลี่ยนให้สอดคล้องกับสถานการณ์ของโรคที่เปลี่ยนแปลงไป โดยเน้นให้ประชาชนเห็นความสำคัญและถือเป็นภารกิจที่ต้องช่วยกัน กระตุ้นและชักนำให้ประชาชน องค์กรชุมชน ตลอดจนเครือข่ายสุขภาพให้มีส่วนร่วมอย่างจริงจังและต่อเนื่อง จึงเป็นกิจกรรมสำคัญที่ต้องเร่งรัดดำเนินการ
ปัจจุบันในอำเภอละงู พบว่าสถานการณ์ของโรคไข้เลือดออก ยังพบว่ามีผู้ป่วยอย่างต่อเนื่องความรุนแรง ซึ่งจำเป็นต้องทำการควบคุมป้องกันและรณรงค์เพื่อให้สถานการณ์ของโรคไข้เลือดออกอยู่ในสภาวะที่ไม่รุนแรงและเพื่อเป็นการป้องกันอย่างต่อเนื่อง คณะอนุกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตและระบบสุขภาพอำเภอ (District Health Board) จึงได้จัดกิจกรรมนี้ขึ้นเพื่อควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกล่วงหน้าและทันท่วงทีที่เกิดโรค
2. วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด
- เพื่อลดความเสี่ยงต่อการแพร่กระจายของโรคไข้เลือดออก
- เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนความร่วมมือในการป้องกันโรคติดต่อในพื้นที่
3. กลุ่มเป้าหมาย
- เจ้าหน้าสาธารณสุข
- อาสาสมัครสาธารณสุข
- ภาคีเครือข่าย
- ประชาชนอำเภอละงู
4. วิธีการดำเนินการ
- ประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนและกำหนดแนวทางในการดำเนินงาน
- จัดทำแผนเพื่อลงสุ่มสำรวจค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายในแต่ละชุมชน และแบ่งทีมเพื่อลงดำเนินการและดำเนินการสุ่มสำรวจค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายในพื้นที่
- สรุปผลและรายงานผล และวิเคราะห์พื้นที่เสี่ยงและคืนข้อมูลให้แก่พื้นที่เพื่อทำการเฝ้าระวัง
5. ระยะเวลาการดำเนินการ
เดือนเมษายน 2561 ? มิถุนายน 2561
6. สถานที่ดำเนินการ
เขตพื้นที่อำเภอละงู จังหวัดสตูล
7. ผลการดำเนินการ
- ประชุมคณะอนุกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตและระบบสุขภาพอำเภอ (District Health Board) เพื่อวางแผนและกำหนดแนวทางในการดำเนินกิจกรรมทั้งสิ้น 17 คน
- กำหนดแผนเพื่อลงสุ่มสำรวจค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายในแต่ละชุมชน และแบ่งทีมเพื่อลงดำเนินการและดำเนินการสุ่มสำรวจค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายในพื้นที่
ตาราง 1 แผนการสุ่มค่าดัชนีลูกน้ำยุงลาย (HI, CI) ระดับหมู่บ้าน อำเภอละงู จังหวัดสตูล ตั้งแต่เมษายน 2561 ? มิถุนายน 2561
วัน เดือน ปี | เวลา | สถานที่ | ผู้ปฏิบัติงาน |
17 เม.ย. 2561 | 08:30 น. – 16:30 น. | รพ.สต. น้ำผุด | 1.นายเสรี พงศ์นฤเดช |
ตำแหน่งสาธารณสุขอำเภอละงู | |||
2.นายลิขิต อังสุภานิช | |||
ตำแหน่งผู้อำนวยการสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม อบต.กำแพง | |||
3.นายอริญชัย หลงเก | |||
ตำแหน่งนักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ | |||
4.นางสาวฮาวา มัจฉา | |||
ตำแหน่งนักวิชาการสาธารณสุข | |||
5.นางสาวอารอฟ๊ะห์ ชาญน้ำ | |||
ตำแหน่งนักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ | |||
18 เม.ย. 2561 | 08:30 น. – 16:30 น. | รพ.สต. บ้านทุ่งไหม้ | 1.นายเสรี พงศ์นฤเดช |
ตำแหน่งสาธารณสุขอำเภอละงู | |||
2.นายลิขิต อังสุภานิช | |||
ตำแหน่งผู้อำนวยการสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม อบต.กำแพง | |||
3.นายวริวุทธ์ จันทร์พงศ์ | |||
ตำแหน่งนักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ | |||
4.นางสาวฮาวา มัจฉา | |||
ตำแหน่งนักวิชาการสาธารณสุข | |||
5.นางสาวอารอฟ๊ะห์ ชาญน้ำ | |||
ตำแหน่งนักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ | |||
24 เม.ย. 2561 | 08:30 น. – 16:30 น. | รพ.สต. ห้วยไทร | 1.นายเสรี พงศ์นฤเดช |
ตำแหน่งสาธารณสุขอำเภอละงู | |||
2.นายปรีชา ปันดิกา | |||
ตำแหน่ง ผอ.สาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม อบต.ปากน้ำ | |||
3.นายเจษฎา ปานแจ่ม | |||
ตำแหน่งนักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ | |||
4.นางสาวฮาวา มัจฉา | |||
ตำแหน่งนักวิชาการสาธารณสุข | |||
5.นางสาวอารอฟ๊ะห์ ชาญน้ำ | |||
ตำแหน่งนักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ | |||
25 เม.ย. 2561 | 08:30 น. – 16:30 น. | รพ.สต. ในเมือง | 1.นายเสรี พงศ์นฤเดช |
ตำแหน่งสาธารณสุขอำเภอละงู | |||
2.นางยุพดี ปัจฉิมศิริ | |||
ตำแหน่ง ผอ.รพ.สต.บ้านตันหยงละไน้ | |||
3.นายอดุล เดเช | |||
ตำแหน่งนักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ | |||
4.นางสาวฮาวา มัจฉา | |||
ตำแหน่งนักวิชาการสาธารณสุข | |||
5.นางสาวอารอฟ๊ะห์ ชาญน้ำ | |||
ตำแหน่งนักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ | |||
1 พ.ค. 2561 | 08:30 น. – 16:30 น. | รพ.สต. ปากน้ำ | 1.นายเสรี พงศ์นฤเดช |
ตำแหน่งสาธารณสุขอำเภอละงู | |||
2.นายรุ่งศักดิ์ จอสกุล | |||
ตำแหน่ง ผอ.รพ.สต.น้ำผุด | |||
3.นางยุภา เพ็ชรอินทร์ | |||
ครูอนามัยโรงเรียนกำแพง | |||
4.นายประกาศิต เพชรกาฬ | |||
ตำแหน่งนักวิชาการสาธารณสุข | |||
5.นางสาวฮาวา มัจฉา | |||
ตำแหน่งนักวิชาการสาธารณสุข | |||
6.นางสาวอารอฟ๊ะห์ ชาญน้ำ | |||
ตำแหน่งนักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ | |||
2 พ.ค. 2561 | 08:30 น. – 16:30 น. | รพ.สต. บ้านบ่อเจ็ดลูก | 1.นายเสรี พงศ์นฤเดช |
ตำแหน่งสาธารณสุขอำเภอละงู | |||
2.นายดำรง คงแก้ว | |||
ตำแหน่ง ผอ.รพ.สต.เขาขาว | |||
3.นายอาทินันทน์ สมุทรสารัญ | |||
ตำแหน่งเจ้าพนักงานสาธารณสุขปฏิบัติงาน | |||
4.นางสาวฮาวา มัจฉา | |||
ตำแหน่งนักวิชาการสาธารณสุข | |||
5.นางสาวอารอฟ๊ะห์ ชาญน้ำ | |||
ตำแหน่งนักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ | |||
3 พ.ค. 2561 | 08:30 น. – 16:30 น. | รพ.สต. แหลมสน | 1.นายเสรี พงศ์นฤเดช |
ตำแหน่งสาธารณสุขอำเภอละงู | |||
2.นางนิตยา ลิ่มวิริยะกุล | |||
ตำแหน่งพยาบาลวิชาชีพชำนาญการ | |||
3.นางสาวเต็มศิริ ขุนยงค์ | |||
ตำแหน่ง ผอ.รพ.สต.บ้านทุ่งไหม้ | |||
4.นางสาวฮาวา มัจฉา | |||
ตำแหน่งนักวิชาการสาธารณสุข | |||
5.นางสาวอารอฟ๊ะห์ ชาญน้ำ | |||
ตำแหน่งนักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ | |||
8 พ.ค. 2561 | 08:30 น. – 16:30 น. | รพ.สต. ตันหยงละไน้ | 1.นายเสรี พงศ์นฤเดช |
ตำแหน่งสาธารณสุขอำเภอละงู | |||
2.นางสาวบุญศรี มาลินี | |||
ตำแหน่งพยาบาลวิชาชีพชำนาญการ | |||
3.นางสาวเต็มศิริ ขุนยงค์ | |||
ตำแหน่ง ผอ.รพ.สต.บ้านทุ่งไหม้ | |||
4.นางสาวฮาวา มัจฉา | |||
ตำแหน่งนักวิชาการสาธารณสุข | |||
5.นางสาวอารอฟ๊ะห์ ชาญน้ำ | |||
ตำแหน่งนักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ | |||
9 พ.ค. 2561 | 08:30 น. – 16:30 น. | ศสช. กำแพง | 1.นายเสรี พงศ์นฤเดช |
ตำแหน่งสาธารณสุขอำเภอละงู | |||
2.นายพิเชษฐ์ ปัจฉิมศิริ | |||
ตำแหน่ง ผอ.รพ.สต.แหลมสน | |||
3.นายการันต์ หมันหย่อง | |||
ตำแหน่ง ผอ.รพ.สต.แหลมสน | |||
4.นางสาวเสาวภา หมาดเเน้ง | |||
ครูอนามัยโรงเรียนละงูพิทยาคม | |||
5.นางสาวฮาวา มัจฉา | |||
ตำแหน่งนักวิชาการสาธารณสุข | |||
6.นางสาวอารอฟ๊ะห์ ชาญน้ำ | |||
ตำแหน่งนักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ | |||
10 พ.ค. 2561 | 08:30 น. – 16:30 น. | ศสช. กำแพง | 1.นายเสรี พงศ์นฤเดช |
ตำแหน่งสาธารณสุขอำเภอละงู | |||
2.นายพิเชษฐ์ ปัจฉิมศิริ | |||
ตำแหน่ง ผอ.รพ.สต.บ่อเจ็ดลูก | |||
3.นายการันต์ หมันหย่อง | |||
ตำแหน่ง ผอ.รพ.สต.แหลมสน | |||
4.นางสาวฮาวา มัจฉา | |||
ตำแหน่งนักวิชาการสาธารณสุข | |||
5.นางสาวอารอฟ๊ะห์ ชาญน้ำ | |||
ตำแหน่งนักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ |
ตารางที่ 2 สรุปผลการสุ่มสำรวจลูกน้ำยุงลายในชุมชนตั้งแต่ เดือนเมษายน – เดือนมิถุนายน 2561
พื้นที่ดำเนินการ | ค่า HI | จำนวนภาชนะ | ค่า CI | |||||
หมู่บ้าน/ชุมชน | สอ./รพ./เทศบาล | สำรวจ | พบลูกน้ำ | ที่สำรวจ | พบลูกน้ำ | |||
วังสายทอง | สอ.น้ำผุด | น้ำผุด | 30 | 2 | ???? 6.66 | 125 | 8 | ???? 6.40 |
นางแก้ว | สอ.น้ำผุด | น้ำผุด | 30 | 3 | ?? 10.00 | 140 | 15 | ?? 10.71 |
ทุ่งไหม้ | สอ.ทุ่งไหม้ | น้ำผุด | 30 | 1 | ???? 3.33 | 113 | 4 | ???? 3.53 |
หัวควน | สอ.ทุ่งไหม้ | น้ำผุด | 30 | 2 | ???? 6.66 | 96 | 6 | ???? 6.25 |
หาญ | สอ.เขาขาว | เขาขาว | 30 | 2 | ???? 6.66 | 136 | 10 | ???? 7.35 |
บ่อหิน | สอ.เขาขาว | เขาขาว | 30 | 3 | ?? 10.00 | 109 | 11 | ?? 10.09 |
ทุ่ง | สอ.ห้วยไทร | ละงู | 30 | 1 | ???? 3.33 | 121 | 5 | ???? 4.13 |
นาพญา | สอ.ห้วยไทร | ละงู | 30 | 2 | ???? 6.66 | 132 | 9 | ???? 6.81 |
เกาะยวน | สอ.ในเมือง | ละงู | 30 | 3 | ?? 10.00 | 150 | 16 | ?? 10.66 |
ลาหงา | สอ.ในเมือง | ละงู | 30 | 4 | ?? 13.33 | 109 | 15 | ?? 13.76 |
ท่าชะมวง | สอ.ปากละงู | ละงู | 30 | 2 | ???? 6.66 | 145 | 11 | ???? 7.58 |
ปากละงู | สอ.ปากละงู | ละงู | 30 | 1 | ???? 3.33 | 91 | 4 | ???? 4.39 |
?ปากบารา | สอ.ปากน้ำ | ปากน้ำ | 30 | 2 | ???? 6.66 | 123 | 9 | ???? 7.31 |
ตะโล๊ะใส | สอ.ปากน้ำ | ปากน้ำ | 30 | 3 | ?? 10.00 | 139 | 12 | ???? 8.63 |
กาแบง | สอ.แหลมสน | แหลมสน | 30 | 4 | ?? 13.33 | 119 | 13 | ?? 10.92 |
บุโบย | สอ.แหลมสน | แหลมสน | 30 | 5 | ?? 16.66 | 151 | 23 | ?? 15.23 |
ตันหยงละไน้ | สอ.ตันหยงละไน้ | แหลมสน | 30 | 2 | ???? 6.66 | 148 | 10 | ???? 6.75 |
สุไหงมูโซ๊ะ | สอ.ตันหยงละไน้ | แหลมสน | 30 | 1 | ???? 3.33 | 99 | 4 | ???? 4.04 |
ควนไสน | PCU | กำแพง | 30 | 2 | ???? 6.66 | 125 | 9 | ???? 7.20 |
ท่าแลหลา | PCU | กำแพง | 30 | 4 | ?? 13.33 | 89 | 11 | ?? 12.35 |
ทุ่งเสม็ด | PCU | กำแพง | 30 | 3 | ?? 10.00 | 111 | 11 | ???? 9.90 |
ตูแตหรำ | PCU | กำแพง | 30 | 1 | ???? 3.33 | 126 | 8 | ???? 6.34 |
ตารางที่ 3 จำนวนผู้ป่วยไข้เลือดออก 5 ปีย้อนหลัง เทียบกับปี 2561
ม.ค. | ก.พ. | มี.ค. | เม.ย. | พ.ค. | มิ.ย. | ก.ค. | ส.ค. | ก.ย. | ต.ค. | พ.ย. | ธ.ค. | |
2556 | 19 | 9 | 13 | 12 | 22 | 24 | 40 | 6 | 6 | 7 | 1 | 2 |
2557 | 11 | 5 | 13 | 12 | 3 | 16 | 14 | 6 | 1 | 0 | 0 | 1 |
2558 | 0 | 0 | 0 | 1 | 0 | 7 | 2 | 1 | 1 | 2 | 3 | 3 |
2559 | 0 | 0 | 0 | 1 | 0 | 7 | 2 | 1 | 1 | 2 | 3 | 3 |
2560 | 12 | 4 | 5 | 3 | 0 | 1 | 11 | 0 | 0 | 0 | 0 | 0 |
Median | 11 | 4 | 5 | 3 | 0 | 7 | 11 | 2 | 1 | 2 | 1 | 1 |
2561 | 1 | 2 | 2 | 0 | 2 |
ตารางที่ 4 กราฟแสดงจำนวนผู้ป่วยไข้เลือดออก ปี 61 และ 61 เทียบกับค่า median ย้อนหลัง 5 ปี
8. ปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินงาน
เนื่องจากเป็นการสุ่มดำเนินการในพื้นที่ จึงอาจทำให้การสำรวจไม่ครอบคลุมทุกพื้นที่
9. แนวทางการพัฒนาแก้ไขในการดำเนินงานครั้งต่อไป
เพิ่มพื้นที่ในการสุ่มสำรวจค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายให้ครอบคลุมทุกหมู่บ้าน